แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙
นำเสนอแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ มีใจความสำคัญคือ ประเทศไทยได้ให้ความสำคัญด้านการศึกษาในฐานะกลไกหลักในการพัฒนาประเทศมาโดยตลอดและเนื่องจากแผนการศึกษาแห่งชาติฉบับเดิมได้สิ้นสุดลง กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา จึงได้จัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ ฉบับนี้ขึ้น เพื่อวางกรอบเป้าหมายและทิศทางการจัดการศึกษาของประเทศ โดยมุ่งจัดการศึกษาให้คนไทยทุกคนสามารถเข้าถึงโอกาสและความเสมอภาคในการศึกษาที่มีคุณภาพ พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ พัฒนากำลังคนให้มีสมรรถนะในการทำงานที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดงานและการพัฒนาประเทศ
คำนำ
บทสรุปผู้บริหาร
บทที่ ๑ สภาวการณ์และบริบทแวดล้อมที่มีผลต่อการพัฒนาการศึกษาของประเทศ
๑.๑ ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี และการสื่อสารแบบก้าวกระโดดที่ส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ภูมิภาค และของโลก
๑.๒ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร
๑.๓ ทักษะของประชากรในศตวรรษที่ ๒๑ : ทั่วโลกตั้งเป้าหมายสร้างให้ได้ และไปให้ถึงความต้องการกำลังคนยุค ๔.๐
๑.๔ สภาวการณ์การเปลี่ยนแปลงของโลก
บทที่ ๒ ผลการพัฒนาการศึกษาไทย ปี ๒๕๕๒ - ๒๕๕๘
๒.๑ บริบทของการจัดการศึกษา
๒.๒ โอกาสทางการศึกษา
๒.๓ คุณภาพการศึกษา
๒.๔ ประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอน
๒.๕ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศึกษา
๒.๖ ประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณ
๒.๗ การพัฒนาการศึกษากับขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
๒.๘ สรุป
บทที่ ๓ ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษา
๓.๑ ปัญหาและความท้าทายที่เกิดจากระบบการศึกษา
๓.๒ ปัญหาและความท้าทายจากสภาวการณ์ของโลกที่ประเทศต้องเผชิญ
บทที่ ๔ วิสัยทัศน์และเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ
๔.๑ แนวคิดการจัดการศึกษา (Conceptual Design)
๔.๒ วิสัยทัศน์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ (Vision)
๔.๓ พันธกิจ
๔.๔ วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ (Objectives)
๔.๕ เป้าหมายด้านผู้เรียน (Learner Aspirations)
๔.๖ เป้าหมายของการจัดการศึกษา (Aspirations)
๔.๗ ตัวชี้วัดตามเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ
๔.๘ ระยะเวลาของการดำเนินงานตามแผนการศึกษาแห่งชาติ
๔.๙ บทบาทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
บทที่ ๕ ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย ตัวชี้วัด และแนวทางการพัฒนา
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัยและนวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา
ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์ที่ ๖ การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา
บทที่ ๖ การขับเคลื่อนแผนการศึกษาแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
๖.๑ หลักการและแนวทางในการขับเคลื่อนแผนการศึกษาแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
๖.๒ การดำเนินการขับเคลื่อนแผนการศึกษาแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
๖.๓ การติดตามประเมินผลแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙
๖.๔ ปัจจัยและเงื่อนไขความสำเร็จ (Key Success Factors)
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
คณะผู้ดำเนินการ